นักวิจัย

กนกพรรณ อยู่ชา

ตำแหน่งปัจจุบัน

ความเชี่ยวชาญ

อาณาบริเวณศึกษาภูมิภาคเอเชียใต้ สังคมวิทยาพัฒนาและเปรียบเทียบ การประเมินผลภัยพิบัติ และจิตอาสา

หมายเลขโทรศัพท์

02-218-7466

อีเมล

Kanokphan.U@chula.ac.th

คุณวุฒิ
ชื่อสถานศึกษา

ปริญญาโท , สคม. (สังคมวิทยาและมานุษยวิทยา)

จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

ปริญญาตรี , ศศบ.(ศิลปศาสตร์บัณฑิต) รัฐศาสตร์ (บริหารรัฐกิจ)

มหาวิทยาลัยรามคำแหง

รายการ
ปี

โครงการ “การพัฒนาความเชี่ยวชาญในเอเชียใต้

2662 - 2564

โครงการ “ถอดบทเรียน ‘งานจิตอาสา’ เพื่อพัฒนากระบวนการส่งเสริมจิตอาสาในสังคมไทย”(กำลังดำเนินการ),

2561 - 2562

โครงการ “อิทธิพลของสื่อการแพร่กระจายของแนวคิดสุดโต่งและกระบวนการแก้ปัญหาแนวคิดสุดโต่ง” (กำลังดำเนินการ)

2561 - 2562

โครงการ “คุณธรรมในอาเซียน : จิตอาสาในอาเซียนภาคพื้นสมุทร (มาเลเซีย อินโดนีเซีย ฟิลิปปินส์ สิงคโปร์ และบรูไน”, ศูนย์คุณธรรม (องค์กรมหาชน)

2560

โครงการศึกษาและพัฒนาระบบการประเมินความต้องการช่วยเหลือผู้ประสบภัยจากภัยพิบัติ สู่มาตรฐานสากล. กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย (ปภ.)

2559

โครงการ “คุณธรรมในอาเซียน : จิตอาสาในอาเซียนภาคพื้นทวีป (ไทย ลาว กัมพูชา เวียดนาม และพม่า)”, ศูนย์คุณธรรม (องค์กรมหาชน)

โครงการพัฒนาระบบฐานข้อมูลและรูปแบบการประเมินความต้องการช่วยเหลือผู้ประสบภัยจากภัยพิบัติ. กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย กระทรวงมหาดไทย

2558

โครงการ “การวิเคราะห์ปัจจัยที่มีผลต่อสถานะทางการเงินของหน่วยบริการสังกัดสำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณาสุข”.สำนักงานหลักประกันสุขภาพ

โครงการ “การศึกษาการผลิตเม็ดเชื้อเพลิงแข็งเพิ่มคุณค่าชีวมวลยอดและใบอ้อยเพื่อใช้เป็นพลังงานทดแทน โดยการมีส่วนร่วมของชุมชน” สกว. ฝ่าย 5 : อุตสาหกรรม

โครงการ “อัตลักษณ์ชาติพันธุ์ชุมชนชาวอินเดียในไทย : ความเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรมในกระแสโลกาภิวัตน์”คลัสเตอร์ความมั่นคงของมนุษย์

โครงการ “การพัฒนาระบบการจัดการเชื้อเพลิงชีวมวลยอดอ้อยและใบอ้อย” ภายใต้ แผนงาน/โครงการวิจัย เรื่อง การศึกษาแนวทางบริหารจัดการเศษวัสดุเหลือใช้ทางการเกษตรเพื่อใช้เป็นเชื้อเพลิงและลดการเกิดหมอกควัน, สำนักงานการวิจัยแห่งชาติ

2555 - 2556

โครงการ “การปฎิสัมพันธ์ระหว่างการย้ายถิ่นกับการเปลี่ยนแปลงด้านสิ่งแวดล้อม กรณีศึกษาอุทกภัยในพื้นที่เมือง”, (ภาษาไทย), สถาบันเอเชียศึกษา

2554 - 2555

โครงการ"จิตอาสา พัฒนาอย่างยั่งยืน สร้างสรรค์สิ่งแวดล้อม” ภายใต้โครงการ “Clean & Green Technology เพื่อเพิ่มผลิตภาพสำหรับผู้ผลิตชิ้นส่วนยานยนต์, กรมโรงงานอุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรม

2554 - 2555

โครงการ "ความมั่นคงของมนุษย์ในกลุ่มผู้ย้ายถิ่นเพื่อสังคมสมานฉันท์ :กรณีศึกษาแรงงานต่างชาติไร้ฝีมือและผู้ลี้ภัย,” คัสเตอร์ความมั่นคงของมนุษย์,จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

2553

Study on Sustainable Solutions to the Displaced People Situation along the Thai-Myanmar Border : The Impacts of Displaced People’s Temporary Shelter on the Surrounding Environment”, UNDP

2553

โครงการวิจัย “บ้านเอื้ออาทรชุมชนเข้มแข็งอยู่ดีมีสุข : กรณีโครงการเศรษฐกิจ 1 สมุทรสาคร”, สำนักงานการเคหะแห่งชาติ

2551 - 2552

โครงการวิจัย “การเตรียมความพร้อมของชุมชนในการดูแลผู้สูงอายุ : กรณีศึกษาในจังหวัดกาญจนบุรี”, สำนักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ จังหวัดกาญจนบุรี

2551 - 2552

โครงการวิจัย “การสำรวจคนชายขอบและคนไร้สัญชาติ ในจังหวัดกาญจนบุรี,” สำนักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ จังหวัดกาญจนบุรี

2550

โครงการวิจัย “การศึกษาการพัฒนากำลังคนและเทคโนโลยีเพื่อเข้าสู่อุตสาหกรรมฐานความรู้ ระยะที่ 2 (ศึกษาอุตสาหกรรมยาในอินเดีย)”สำนักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรม

2550

โครงการวิจัยเรื่อง “การศึกษาวิเคราะห์การจัดทำเขตการค้าเสรีไทย-ปากีสถาน โอกาสการขยายการค้า การลงทุนและผลกระทบ”, กระทรวงพาณิชย์ ผ่าน ศูนย์บริการวิชาการ จุฬาฯ

2548 - 2549

โครงการวิจัย “การศึกษาการพัฒนากำลังคนและเทคโนโลยีเพื่อเข้าสู่อุตสาหกรรมฐานความรู้ : กรณีอินเดีย และเกาหลี”, สำนักเศรษฐกิจอุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรม

2548 - 2549

โครงการวิจัยเรื่อง “การสำรวจข้อมูลพื้นฐานด้านประชากร เศรษฐกิจ สังคม สุขภาพ และการตั้งถิ่นฐานของชุมชนในลุ่มน้ำพอง จังหวัดขอนแก่น จังหวัดหนองบัวลำพู และลุ่มน้ำยัง จังหวัดกาฬสินธุ์ จังหวัดร้อยเอ็ด” งบประมาณแผ่นดิน โครงการบูรณาการร่วมของ 12 สถาบันวิจัยในจุฬาฯ ผ่านสถาบันวิจัยสภาวะแวดล้อม

2548 - 2549

โครงการความหลากหลายทางศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัย สำนักงานศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัย กระทรวงวัฒนธรรม -โครงการวิจัย “นโยบายและแนวทางพัฒนาระบบการรับมือกับภัยพิบัติด้านสังคมและการจัดการปกครอง : กรณีศึกษาจากประสบการณ์ธรณีพิบัติสึนามิ”, มูลนิธิสาธารณสุขแห่งชาติ ผ่าน คณะรัฐศาสตร์ จุฬาฯ

2548 - 2549

โครงการติดตามความก้าวหน้าเกณฑ์พื้นฐาน 10 ประการในการดำรงชีวิตของคนไทย, สภาพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ผ่านศูนย์บริการวิชาการ จุฬา

2548 - 2549

โครงการ “ความร่วมมือระหว่างประเทศไทยและประเทศเพื่อนบ้านภายใต้โครงการสนับสนุนที่ปรึกษาไทยไปทำงานในต่างประเทศ : กรณีการให้ความช่วยของไทยต่อประเทศเพื่อนบ้านในการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์”,สมาคมวิศวกรที่ปรึกษาแห่งประเทศไทย

2547-2548

โครงการ “ ภาพรวมผลกระทบภายใต้กรอบการเจรจาความตกลง FTA ไทย-อินเดีย”, กระทรวงพาณิชย์ ผ่าน คณะเศรษฐศาสตร์

2547-2548

โครงการผลกระทบทางเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อม ที่เกิดขึ้นจากการพัฒนาระเบียงตะวันออก-ตะวันตก : กรณีเส้นทางหมายเลข 9, สกว.

2546-2547

โครงการวาระแห่งชาติสำหรับไทยในการรักษาและส่งเสริมผลประโยชน์ชาติในกรณีศึกษายุทธศาสตร์ของไทยต่อการยกระดับความสัมพันธ์ทางเศรษฐกิจการค้าเอเชีย : เอเชียใต้, กองทุนรัชดาภิเษกสมโภช จุฬาฯ

2546-2547

โครงการจัดการศึกษาด้านศาสนา : ประเทศอินเดีย, สภาการศึกษา -โครงการบทบาทศาสนาต่อการพัฒนาเมืองน่าอยู่ : กรณีศึกษาอินเดีย และ ญี่ปุ่น, งบประมาณแผ่นดิน

2546-2547

โครงการประเมินการเสริมสร้างความเข้มแข็งขององค์กรชุมชนเมืองและชนบท, แหล่งทุนสถาบันพัฒนาองค์กรชุมชน

2545

The Human Dignity Initiative : Community – based Safety- Nets as Tool for Human Development, ESCAP ผ่าน มูลนิธิชุมชนไท

2544

โครงการ “การเคลื่อนย้ายของประชาชนและผลกระทบต่อความมั่นคงของประเทศไทย : กรณีศึกษากลุ่มเอเชียใต้”

2540

โครงการ “ลู่ทางการค้าและการลงทุนไทยกับประเทศอินเดีย”, แหล่งทุนงบประมาณแผ่นดิน

2540

โครงการ “สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว : ภูมิหลังทางการเมืองและสถานภาพทางเศรษฐกิจ, สมาคมมิตรภาพไทย-ลาว, กระทรวงการต่างประเทศ

2539

โครงการ “สายใยไทย-ลาว : ข่าวเกี่ยวกับลาวในสื่อมวลชนไทย, 2538 สมาคมมิตรภาพไทย-ลาว, กระทรวงการต่างประเทศ

2538

รายการ

กนกพรรณ อยู่ชา , “พลวัตทางเศรษฐกิจอินเดีย : ความเชื่อมโยงในเอเชีย” ,สัมมนาวิชาการเรื่อง “จีน-อินเดีย-ไทย: ในกระแสเศรษฐกิจการเมืองโลก”, 21 ธันวาคม 2543.

กนกพรรณ อยู่ชา, “ ขบวนการเคลื่อนไหวผู้หญิงอินเดียกับการพัฒนาชุมชนในอินเดีย”,เอเชียปริทัศน์ ปีที่ 27 ฉบับที่ 1 (มกราคม – มิถุนายน ) , สถาบันเอเชียศึกษา, 2549.

กนกพรรณ อยู่ชา “อินเดียอำนาจเศรษฐกิจใหม่เอเชียในศตวรรษที่ 21,” เอเชียปริทัศน์ ปีที่ 28 ฉบับที่ 1 (มกราคม – มิถุนายน), สถาบันเอเชียศึกษา, 2550.

กนกพรรณ อยู่ชา และสุทธิพันธ์ จิราธิวัฒน์, “การเตรียมความพร้อมรองรับผลกระทบการเจรจา FTA ไทย-อินเดีย,” เอเชียปริทัศน์ ปีที่ 28 ฉบับที่ 1 (มกราคม – มิถุนายน), สถาบันเอเชียศึกษา,

กนกพรรณ อยู่ชา, “องค์กรการเงินในระดับจุลภาคกับการพัฒนาชุมชนในอินเดีย,” เอเชียปริทัศน์ ปีที่ 30 ฉบับที่ 2 , สถาบันเอเชียศึกษา,

กนกพรรณ อยู่ชา และปกรณ์ เลิศเสถียรชัย.“จิตอาสาในอาเซียนภาคพื้นทวีป ไทย ลาว เวียดนาม พม่า และกัมพูชา :พัฒนาการและข้อเสนอเชิงนโยบาย”, การประชุมวิชาการระดับชาติ SMARTS ครั้งที่ 6 "อัตลักษณ์แห่งเอเชีย Asian Indentities 2016" คณะวิทยาการจัดการมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา", วันที่ 17 มิถุนายน 2559

กนกพรรณ อยู่ชา. “อินเดีย : การเมือง เศรษฐกิจ สังคม และการต่างประเทศ” ตีพิมพ์ใน เอเชีย ราย ปีตั้งแต่ 1995/2538 ถึง 2012/2555. สถาบันเอเชียศึกษา (จำนวน 20 บทความ)

กนกพรรณ อยู่ชา,150 ปีปราชญ์ตะวันออก รพินทรนาถ ฐากูร,เอเชียปริทัศน์ ปีที่ 33 ฉบับที่ 2 , สถาบันเอเชียศึกษา, 2555

กนกพรรณ อยู่ชา.2556. อินเดียในปี 2013 กระแสเอเชียฉบับที่ 1 /2003 หน้า 139-167.

กนกพรรณ อยู่ชา .2557 .การเลือกตั้งทั่วไปครั้งที่ 16 : นัยสำคัญต่อการเปลี่ยนแปลงขั้วทางการเมืองครั้งสำคัญของสาธารณรัฐอินเดีย, กระแสเอเชียฉบับที่ 1 / 2014 หน้า 159-192.

กนกพรรณ อยู่ชา. 2557.ปริทัศน์หนังสือ “Earth Pilgrim : จาริกบนผืนโลก” โดย สาทิศ กุมาร, เอเชียปริทัศน์ ฉบับที่ 1/2014 - กนกพรรณ อยู่ชา .2557. ปริทัศน์หนังสือ “บทวิเคราะห์เชิงรัฐศาสตร์ว่าด้วย พุทธประวัติในบริบท เศรษฐกิจ การเมือง และวัฒนธรรมของอินเดียในพุทธกาล” โดย วรศักดิ์ มหัธโนบท, เอเชียปริทัศน์ ฉบับที่ 2/2014

กนกพรรณ อยู่ชา .2558. อินเดีย : การเปลี่ยนผ่านจากนโยบาย “มองตะวันออก” สู่“ปฏิบัติการตะวันออก” กระแสเอเชียฉบับที่ 1 /2558

เขียน ธีระวิทย์ และคณะ,(2538). สายใยไทย-ลาว : ข่าวเกี่ยวกับลาวในสื่อมวลชนไทย, กรุงเทพฯ : สถาบันเอเชียศึกษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

กนกพรรณ อยู่ชา. (2539). สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว : ภูมิหลังทางการเมืองและสถานภาพทางเศรษฐกิจ, กรุงเทพฯ : สถาบันเอเชียศึกษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

กนกพรรณ อยู่ชา,บรรณาธิการ. (2546). โลกภายใต้เงามืด : ก่อนและหลังสงครามรัก”.กรุงเทพฯ : สถาบันเอเชียศึกษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, สนับสนุนโดยสำนักงานสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.).

กนกพรรณ อยู่ชา บรรณาธิการหนังสือเรื่อง “รู้จักและเข้าใจสิทธิมนุษยชนคู่มือเพื่อการศึกษาสิทธิมนุษยชน” แปลจาก”Understanding Human Rights Manual on human Rights Education” ให้กับกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์, 2549.

สุริชัย หวันแก้ว และคณะ, (2550). สังคมวิทยา สึนามิ : การรับมือกับภัยพิบัติ. กรุงเทพฯ : สถาบันวิจัยสังคม จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

กนกพรรณ อยู่ชา และคณะ.(2550).การสำรวจคนชายขอบและคนไร้สัญชาติ ในจังหวัดกาญจนบุรี, สำนักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ จังหวัดกาญจนบุรี.

กนกพรรณ อยู่ชา และคณะ.(2551).การเตรียมความพร้อมของชุมชนในการดูแลผู้สูงอายุ: กรณีศึกษาในจังหวัดกาญจนบุรี, สำนักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ จังหวัดกาญจนบุรี.

สุริชัย หวันแก้ว และกนกพรรณ อยู่ชา ,บรรณาธิการ. (2552).ศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัยบนความหลากหลายและสับสน,กรุงเทพฯ : สถาบันเอเชียศึกษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

Suwattana Thadaniti , Kanokphan U-sha .The Impact of Displaced People’s Temporary Shelters on their Surrounding Environment. ใน Springer International Publishing, Vol. 16 , 2014 เป็น e-book

จิตอาสาอาเซียน, (2562) กรุงเทพฯ : ศูนย์คุณธรรม (องค์การมหาชน)

กนกพรรณ อยู่ชา. (2560) “การเมืองการปกครองของศรีลังกา”, เอกสารการสอนชุดวิชาการเมืองการปกครองประเทศในเอเชีย, สาขารัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช