นักวิจัย
เป็นอาจารย์และนักวิจัยอาวุโส แห่งศูนย์วิจัยการย้ายถิ่นแห่งเอเชีย สถาบันเอเชียศึกษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และดำรงตำแหน่งผู้แทนไทยในคณะกรรมาธิการอาเซียนว่าด้วยการส่งเสริมและคุ้มครองสิทธิสตรีและสิทธิเด็ก ในฐานะผู้เชี่ยวชาญด้านสิทธิสตรี มีความเชี่ยวชาญพิเศษในประเด็น การย้ายถิ่น ทั้งประเด็นการย้ายถิ่นแบบสมัครใจและถูกบังคับ ประเด็นที่เกี่ยวข้องกับแรงงานสตรี แรงงานข้ามชาติ แรงงานบังคับ การลักลอบขนคนเข้าเมือง การค้ามนุษย์ ทาสในยุคปัจจุบัน บุคคลไร้รัฐ การส่งเสริมสตรีในการมีส่วนร่วมทางการเมืองและการตัดสินใจ รวมถึงการส่งเสริมและคุ้มครองสิทธิสตรีและเด็กหญิง
+66 (02) 218 7462
ratchada.ja@chula.ac.th
ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาบริหาร การพัฒนา (ภาคนานาชาติ)
สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ (นิด้า) ประเทศไทย
ศิลปศาสตร์มหาบัณฑิต สาขา พัฒนานโยบายและรัฐ ประศาสนศาสตร์
มหาวิทยาลัยวิสคอนซิน ณ เมือง แมดิสัน ประเทศสหรัฐอเมริกา
บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต (การบริหาร)
เอ็ดวูด คอลเลจ เมืองแมดิสัน ประเทศ สหรัฐอเมริกา
Supang Chantavanich and Ratchada Jayagupta. A Chapter on Immigration to Thailand;“Immigration to Thailand: The Case of Migrant Workers from Myanmar, Laos, and Cambodia” in Uma A. Segaal Doreen Elliott, and Nazneen S. Maydas (eds.) Immigration Worldwide: Policies, Practices, and Trends, Oxford University Press, 2010.
Jayagupta, Ratchada. 2009. The Thai Government’s Repatriation and Reintegration Programmes: Responding to Trafficked Female Commercial Sex Workers from the Greater Mekong Sub-region; published by Blackwell Publishing Ltd., Journal Compilation 2009. 3.2.3
With Professor Dr. Supang Chantavanich, a chapter on “Management Policy on foreign migrant worker in Thailand: นโยบายและการจัดการแรงงานต่างชาติใน ประเทศไทย” – Thai version, in “Promoting awareness on foreign migrant worker’s rights protection: การสร้างความตระหนักในการคุ้มครองสิทธิแรงงานต่าง ด้าว” in collaboration among Ministry of Labor, International Organization for Migration (IOM), The National Human Rights Commission, and Asian Research Center for Migration (ARCM) at the Institute of Asian Studies, Chulalongkorn University
รัชดา ไชยคุปต์. แนวปฏิบัติที่มีความละเอียดอ่อนเชิงเพศภาวะสำหรับการดูแลสตรีที่เป็นผู้เสียหายจากการค้ามนุษย์. (2019)
Member of the Research Team: Thai Team and Laos Team on “Cross Border Migration between Thailand and Lao PDR: A Qualitative Assessment of Lao Migration and Its Contribution to HIV vulnerability”: 2005. ISBN: 974- 9942-72-8.