นักวิจัยศูนย์พหุวัฒนธรรมศึกษาและนวัตกรรมทางสังคม

ศูนย์พหุวัฒนธรรมศึกษาและนวัตกรรมทางสังคม

ศูนย์พหุวัฒนธรรมศึกษาและนวัตกรรมทางสังคม  สถาบันเอเชียศึกษา  จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย  เป็นหน่วยปฏิบัติการวิจัยที่เป็นศูนย์รวมองค์ความรู้ทางวิจัยและวิชาการด้านพหุวัฒนธรรมศึกษา รวมทั้งที่เกี่ยวกับประเด็นปัญหาและความเกี่ยวข้องสัมพันธ์ของวัฒนธรรมต่าง ๆ ที่มีอยู่ร่วมกันในสังคมไทยและที่เชื่อมโยงกับภูมิภาคเอเชียทั้งในมิติการเมือง เศรษฐกิจ  ความมั่นคง ประวัติศาสตร์  และสังคม   และโดยเฉพาะอย่างยิ่ง การศึกษา ‘ทุนซ่อนเร้น’ ที่มีอยู่ในสังคมไทยมารังสรรค์สร้างอัตลักษณ์งานวิจัยด้านวัฒนธรรมของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย โดยมุ่งเน้นการสร้างมูลค่าให้กับวัฒนธรรมไทย และคุณค่าที่ซ่อนเร้นในสังคมพหุวัฒนธรรม โดยนำมาสื่อสารผ่านสื่อและนวัตกรรมรูปแบบต่างๆ ที่สอดคล้องกับพฤติกรรมของผู้บริโภคข้อมูลข่าวสารในยุคปัจจุบัน  อีกทั้งยังเป็นศูนย์ภาคีเครือข่ายความร่วมมือด้านพหุวัฒนธรรมศึกษากับกลไกภาครัฐ ภาควิชาการ และภาคประชาสังคมในการประสานการทำงานร่วมกัน   ตลอดจนจะเป็นหน่วยงานที่นำองค์ความรู้ที่ได้ไปพัฒนาต่อยอดด้วยกระบวนการทางความคิดใหม่เพื่อให้เกิดผลผลิตอันทันสมัยที่จะส่งผลเฉพาะกลุ่มและในเชิงสาธารณะ และตอบโจทย์สำคัญของสังคมไทย

ดร.ดลยา เทียนทอง

ตำแหน่งปัจจุบัน

นักวิจัย

ความเชี่ยวชาญ

สังคมพหุวัฒนธรรม, การจัดการทางวัฒนธรรม, ความมั่นคงของมนุษย์, ประวัติศาสตร์, ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ

หมายเลขโทรศัพท์

+66 2 218 7435

อีเมล

Dollaya.T@chula.ac.th

คุณวุฒิ
ชื่อสถานศึกษา

อักษรศาสตรดุษฎีบัณฑิต ด้านไทยศึกษา (หลักสูตรนานาชาติ)

จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

รัฐศาสตรมหา บัณฑิต (ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ)

จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

รัฐศาสตรบัณฑิต (รัฐประศาสนศาสตร์)

จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

รายการ
ปี

“ศิลปาชีพ : ภูมิปัญญาหัตถกรรมอันล้ำเลิศของไทย,” “สืบสานนาฏศิลป์โขน เพื่อเป็นมรดกแห่งแผ่นดิน” และ “ชุบชีวิตผืนป่าและท้องทะเล” ภายใต้ โครงการวิจัย เรื่อง การจัดทำข้อมูลทางประวัติศาสตร์เพื่อการผลิตสารคดีประวัติศาสตร์ชาติไทยและสถาบันพระมหากษัตริย์”

ผลงานวิจัย เรื่อง สานสัมพันธ์ทางวัฒนธรรมในจังหวัดนราธิวาส : มองผ่านงานจักสานลิเภา ภายใต้ โครงการ เรื่อง ร้อยพลัง รังสรรค์วิถี : ก้าวนี้และก้าวต่อไปบนด้ามขวาน

2562 - 2563

ผลงานวิจัย เรื่อง จักสานย่านลิเภา : หัตถศิลป์สืบเนื่องนิยมของไทย ภายใต้ โครงการวิจัย เรื่อง นวัตกรรมละครโทรทัศน์ เพื่อการส่งเสริมอุตสาหกรรมวัฒนธรรมไทย 4.0

2562

ผลงานวิจัย เรื่อง สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ ในพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร กับการสืบสานพระราชกรณียกิจเกี่ยวกับชาวไทยมุสลิม ภายใต้ โครงการวิจัย เรื่อง สถาบันพระมหากษัตริย์กับมุสลิมในแผ่นดินไทย ฉบับพิเศษ

2562

ผลงานวิจัยเพื่อสังคม เรื่อง การถอดบทเรียนการอยู่ร่วมกันอย่างสันติสุขท่ามกลางความหลากหลายทางวัฒนธรรมจากชุมชนสู่ชุมชน : กรณีศึกษาพื้นที่อำเภอเมือง จังหวัดนราธิวาส ภายใต้ ชุดโครงการ “รังสรรค์สันติสุขให้แผ่นดินไทย” (ปีที่ 1)

2560

ผลงานวิชาการเพื่อสังคม เรื่อง ศิลปาชีพกับการเสริมสร้างความมั่นคงของชีวิตในจังหวัดชายแดนภาคใต้ หลักสูตรการจัดการศึกษาเพื่อดุลยภาพชีวิตและชุมชนในจังหวัดชายแดนภาคใต้ ภายใต้ชุดโครงการ “รังสรรค์สันติสุขให้แผ่นดินไทย” ปีที่ 2

2561

ผลงานวิจัย (วิทยานิพนธ์ปริญญาเอก) เรื่อง “THE FOUNDATION FOR THE PROMOTION OF SUPPLEMENTARY OCCUPATIONS AND RELATED TECHNIQUES OF HER MAJESTY QUEEN SIRIKIT AND THE ENHANCEMENT OF HUMAN SECURITYIN NORTHEAST THAILAND DURING THE 1970s

บทความวิจัย เรื่อง Japan and the Development of Thai Women’s Needlework Skill in the Reign of King Rama V, Journal of Asian Review Vol.29, No.1 2016.

รายการ

บทความวิชาการ เรื่อง ความก้าวหน้าในศิลปหัตถกรรมการเย็บปักถักร้อยของสตรีไทยในสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว, วารสาร ไทยศึกษา Vol 9, No 2 (2013) : สิงหาคม 2556 - มกราคม 2557.

ที่ตั้งสถาบัน ( ศูนย์พหุวัฒนธรรมศึกษาและนวัตกรรมทางสังคม)

สถาบันเอเชียศึกษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (Institute of Asian Studies Chulalongkorn University)

อาคารประชาธิปก-รำไพพรรณี ชั้น 3 ถ.พญาไท แขวงวังใหม่ เขตปทุมวัน 10330