นักวิจัยศูนย์เอเชียใต้ศึกษา

ศูนย์เอเชียใต้ศึกษา

South Asian Studies Center is a research unit for South Asian Studies and funded by Ratchadaphiseksomphot Endowment Fund, Chulalongkorn University. The center established in June 2017 under the Institute of Asian Studies. The center conducts research on South Asian Studies Countries related to social, economic, cultural and political issues. South Asian Countries have diverse in term of culture, religions, languages. The main purposes of center are development, initiating and disseminating the knowledge in South Asian to the publicity, creating quality of Thai researchers and expanding the academic network within Thailand and global. Therefore, for developing the relationship between Thailand and the South Asian countries is necessary to understand the context of this region through conducted research in deeply analysis and systematic as a main mission of the South Asian Sian Studies Center of Institute of Asian Studies, Chulalongkorn University.

สินค้า

สินค้าใหม่แนะนำ

วัตถุประสงค์

  1. To be a research center, producing and disseminating knowledge about South Asian Region to publicity in national and global level.
  2. To create and develop the quality of Thai researcher in the field of South Asian Region and to building research networks and academic cooperation between researchers and research institutes within the country and global.
  3. To be a national information center that able to apply policy planning, promoting the knowledge about South Asian region.
  4. To create an understanding and good relationship between nations.

ที่ตั้งสถาบัน (ศูนย์เอเชียใต้ศึกษา)

สถาบันเอเชียศึกษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (Institute of Asian Studies Chulalongkorn University)

อาคารประชาธิปก-รำไพพรรณี ชั้น 3 ถนนพญาไท แขวงวังใหม่ เขตปทุมวัน กรุงเทพฯ 10330

ศูนย์เอเชียใต้ศึกษา สถาบันเอเชียศึกษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

ดร.อับดุรเราะฮหมาน มูเก็ม

ตำแหน่งปัจจุบัน

นักวิจัย

ความเชี่ยวชาญ

สังคมและการเมืองการปกครองในเอเชียใต้, สันติภาพ ความรุนแรงและการอยู่ร่วมกันในสังคมพหุวัฒนธรรม, ปรัชญาการเมืองและแนวคิดอิสลาม

หมายเลขโทรศัพท์

+669 4449 3310

อีเมล

Abdunrohman.M@chula.ac.th

คุณวุฒิ
ชื่อสถานศึกษา

ดุษฎีบัณฑิต สาขารัฐศาสตร์ปรัชญาการเมือง

มหาวิทยาลัยมุสลิมอาลิการ์ สาธารณรัฐอินเดีย

ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขารัฐศาสตร์ปรัชญาการเมือง

มหาวิทยาลัยมุสลิมอาลิการ์ สาธารณรัฐอินเดีย

ศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาการเมืองการปกครอง

มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี

รายการ
ปี

อับดุรเราะฮหมาน มูเก็มและยุโสบ อุเจะ “ชีวิตคนขับรถบรรทุกภายใต้สถานการณ์ความรุนแรง” การประชุมวิชาการ รัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์ส่วนภูมิภาคภาคใต้ประจำปี 2550 โดยสำนักงานคณะกรรมการการวิจัยแห่งชาติ เครือข่ายรัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์ภาคใต้ คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

ผู้ช่วยโครงการวิจัย “การถอดบทเรียน ‘งานจิตอาสา’ เพื่อพัฒนากระบวนการส่งเสริมจิตอาสาในสังคมไทย” ศูนย์เอเชียใต้ศึกษา สถาบันเอเชียศึกษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย สนับสนุนโดยสำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย

ผู้ช่วยวิจัยโครงการ “อิทธิพลของสื่อ การแพร่กระจายของแนวคิดสุดโต่งและกระบวนการแก้ปัญหาแนวคิดสุดโต่ง” ศูนย์เอเชียใต้ศึกษา สถาบันเอเชียศึกษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย สนับสนุนโดยกองทุนรัชดาภิเษกสมโภช จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

รายการ

อับดุรเราะฮหมาน มูเก็ม, “เซอร์ ซัยยิด อะหมัด คาน: ปลดแอกความรุนแรงสู่การศึกษา” ใน “วารสารสังคมศาสตร์ ฉบับเข้าใจเพื่อนบ้าน” มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ ปีที่ 8 ฉบับที่ 8 ตุลาคม 2558, นครศรีธรรมราช: สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์, 2558. หน้า 35-61 เลขหนังสืออิเล็กทรอนิค 1905-8241

Abdunrohman Mukem, ‘Al-Ghazali’s Statecraft in Nasihat al-Muluk’ in ‘Advancement of Science and Philosophy in Islam’, edited by Obaidullah Fahad and Muhammad Salahuddin Umari, Aligarh: Seerat Committee, 2016., pp. 179-188. ISBN: 978-93-84354-84-8

อับดุรเราะฮหมาน มูเก็ม, “ลัดดากห์: ภาพสะท้อนแห่งการอยู่ด้วยกันบนพื้นที่แห่งความเป็นตัวตนที่ต่างกัน” ใน “ศาสตร์แห่งความจำ ศิลป์แห่งการลืม” เอกสารประกอบการประชุมวิชาการระดับชาติ เครือข่ายประวัติศาสตร์ มานุษยวิทยาและสังคมวิทยาภาคใต้ครั้งที่ 2 เล่ม 2, ปัตตานี: มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี, 2559 หน้า 357-373. เลขหนังสืออิเล็กทรอนิค 978-616-271-329-3

Abdunrohman Mukem, ‘Al-Ghazali (1058-1111): The Practical Way to Purify a Soul’, in ‘Concept of Peace in Islam and World Religious’ edited by Zafar Darik Qasmi and Mohd Shadab Khan, Aligarh: Iqra Educational Welfare Society (Regd.), 2016, pp. 55-59. ISBN: 978-93-84354-66-4

อับดุรเราะฮหมาน มูเก็ม. (2062). เลือกตั้งอินเดีย 2019: สมรภูมิการเมืองยังเป็นเรื่องท้าทาย. วารสารเอเชียปริทัศน์ สถาบันเอเชียศึกษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีที่ 40 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม - ธันวาคม 2562. (กำลังดำเนินการตีพิมพ์)

อับดุรเราะฮหมาน มูเก็ม. (2062). ภูมิปัญญาปราชญ์เอเชียใต้: เมาลานาตอริก ญามีล นักเทศนาธรรมสันติวิธีตามวิถีอิสลาม. วารสารปณิธาน คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ปีที่ 15 ฉบับที่ 2 ปี กรกฏาคม - ธันวาคม 2562. (กำลังดำเนินการตีพิมพ์)

รายการ
ปี

โครงการแปลหนังสือ “Sheikh Mujibur Rahman: The Unfinished Memories” สนับสนุนโดยสถานทูตบังกลาเทศ ประจำประเทศไทย

ที่ตั้งสถาบัน (ศูนย์เอเชียใต้ศึกษา)

สถาบันเอเชียศึกษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (Institute of Asian Studies Chulalongkorn University)

อาคารประชาธิปก-รำไพพรรณี ชั้น 3 ถนนพญาไท แขวงวังใหม่ เขตปทุมวัน กรุงเทพฯ 10330