นักวิจัยศูนย์เอเชียใต้ศึกษา

ศูนย์เอเชียใต้ศึกษา

South Asian Studies Center is a research unit for South Asian Studies and funded by Ratchadaphiseksomphot Endowment Fund, Chulalongkorn University. The center established in June 2017 under the Institute of Asian Studies. The center conducts research on South Asian Studies Countries related to social, economic, cultural and political issues. South Asian Countries have diverse in term of culture, religions, languages. The main purposes of center are development, initiating and disseminating the knowledge in South Asian to the publicity, creating quality of Thai researchers and expanding the academic network within Thailand and global. Therefore, for developing the relationship between Thailand and the South Asian countries is necessary to understand the context of this region through conducted research in deeply analysis and systematic as a main mission of the South Asian Sian Studies Center of Institute of Asian Studies, Chulalongkorn University.

สินค้า

สินค้าใหม่แนะนำ

วัตถุประสงค์

  1. To be a research center, producing and disseminating knowledge about South Asian Region to publicity in national and global level.
  2. To create and develop the quality of Thai researcher in the field of South Asian Region and to building research networks and academic cooperation between researchers and research institutes within the country and global.
  3. To be a national information center that able to apply policy planning, promoting the knowledge about South Asian region.
  4. To create an understanding and good relationship between nations.

ที่ตั้งสถาบัน (ศูนย์เอเชียใต้ศึกษา)

สถาบันเอเชียศึกษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (Institute of Asian Studies Chulalongkorn University)

อาคารประชาธิปก-รำไพพรรณี ชั้น 3 ถนนพญาไท แขวงวังใหม่ เขตปทุมวัน กรุงเทพฯ 10330

ศูนย์เอเชียใต้ศึกษา สถาบันเอเชียศึกษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

กนกพรรณ อยู่ชา

ตำแหน่งปัจจุบัน

นักวิจัยชำนาญการ

ความเชี่ยวชาญ

อาณาบริเวณศึกษาภูมิภาคเอเชียใต้ สังคมวิทยาพัฒนาและเปรียบเทียบ การประเมินผลภัยพิบัติ และจิตอาสา

หมายเลขโทรศัพท์

02-218-7466

อีเมล

Kanokphan.U@chula.ac.th

คุณวุฒิ
ชื่อสถานศึกษา

ปริญญาโท , สคม. (สังคมวิทยาและมานุษยวิทยา)

จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

ปริญญาตรี , ศศบ.(ศิลปศาสตร์บัณฑิต) รัฐศาสตร์ (บริหารรัฐกิจ)

มหาวิทยาลัยรามคำแหง

รายการ
ปี

โครงการ “การพัฒนาความเชี่ยวชาญในเอเชียใต้

2662 - 2564

โครงการ “ถอดบทเรียน ‘งานจิตอาสา’ เพื่อพัฒนากระบวนการส่งเสริมจิตอาสาในสังคมไทย”(กำลังดำเนินการ),

2561 - 2562

โครงการ “อิทธิพลของสื่อการแพร่กระจายของแนวคิดสุดโต่งและกระบวนการแก้ปัญหาแนวคิดสุดโต่ง” (กำลังดำเนินการ)

2561 - 2562

โครงการ “คุณธรรมในอาเซียน : จิตอาสาในอาเซียนภาคพื้นสมุทร (มาเลเซีย อินโดนีเซีย ฟิลิปปินส์ สิงคโปร์ และบรูไน”, ศูนย์คุณธรรม (องค์กรมหาชน)

2560

โครงการศึกษาและพัฒนาระบบการประเมินความต้องการช่วยเหลือผู้ประสบภัยจากภัยพิบัติ สู่มาตรฐานสากล. กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย (ปภ.)

2559

โครงการ “คุณธรรมในอาเซียน : จิตอาสาในอาเซียนภาคพื้นทวีป (ไทย ลาว กัมพูชา เวียดนาม และพม่า)”, ศูนย์คุณธรรม (องค์กรมหาชน)

โครงการพัฒนาระบบฐานข้อมูลและรูปแบบการประเมินความต้องการช่วยเหลือผู้ประสบภัยจากภัยพิบัติ. กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย กระทรวงมหาดไทย

2558

โครงการ “การวิเคราะห์ปัจจัยที่มีผลต่อสถานะทางการเงินของหน่วยบริการสังกัดสำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณาสุข”.สำนักงานหลักประกันสุขภาพ

โครงการ “การศึกษาการผลิตเม็ดเชื้อเพลิงแข็งเพิ่มคุณค่าชีวมวลยอดและใบอ้อยเพื่อใช้เป็นพลังงานทดแทน โดยการมีส่วนร่วมของชุมชน” สกว. ฝ่าย 5 : อุตสาหกรรม

โครงการ “อัตลักษณ์ชาติพันธุ์ชุมชนชาวอินเดียในไทย : ความเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรมในกระแสโลกาภิวัตน์”คลัสเตอร์ความมั่นคงของมนุษย์

โครงการ “การพัฒนาระบบการจัดการเชื้อเพลิงชีวมวลยอดอ้อยและใบอ้อย” ภายใต้ แผนงาน/โครงการวิจัย เรื่อง การศึกษาแนวทางบริหารจัดการเศษวัสดุเหลือใช้ทางการเกษตรเพื่อใช้เป็นเชื้อเพลิงและลดการเกิดหมอกควัน, สำนักงานการวิจัยแห่งชาติ

2555 - 2556

โครงการ “การปฎิสัมพันธ์ระหว่างการย้ายถิ่นกับการเปลี่ยนแปลงด้านสิ่งแวดล้อม กรณีศึกษาอุทกภัยในพื้นที่เมือง”, (ภาษาไทย), สถาบันเอเชียศึกษา

2554 - 2555

โครงการ"จิตอาสา พัฒนาอย่างยั่งยืน สร้างสรรค์สิ่งแวดล้อม” ภายใต้โครงการ “Clean & Green Technology เพื่อเพิ่มผลิตภาพสำหรับผู้ผลิตชิ้นส่วนยานยนต์, กรมโรงงานอุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรม

2554 - 2555

โครงการ "ความมั่นคงของมนุษย์ในกลุ่มผู้ย้ายถิ่นเพื่อสังคมสมานฉันท์ :กรณีศึกษาแรงงานต่างชาติไร้ฝีมือและผู้ลี้ภัย,” คัสเตอร์ความมั่นคงของมนุษย์,จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

2553

Study on Sustainable Solutions to the Displaced People Situation along the Thai-Myanmar Border : The Impacts of Displaced People’s Temporary Shelter on the Surrounding Environment”, UNDP

2553

โครงการวิจัย “บ้านเอื้ออาทรชุมชนเข้มแข็งอยู่ดีมีสุข : กรณีโครงการเศรษฐกิจ 1 สมุทรสาคร”, สำนักงานการเคหะแห่งชาติ

2551 - 2552

โครงการวิจัย “การเตรียมความพร้อมของชุมชนในการดูแลผู้สูงอายุ : กรณีศึกษาในจังหวัดกาญจนบุรี”, สำนักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ จังหวัดกาญจนบุรี

2551 - 2552

โครงการวิจัย “การสำรวจคนชายขอบและคนไร้สัญชาติ ในจังหวัดกาญจนบุรี,” สำนักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ จังหวัดกาญจนบุรี

2550

โครงการวิจัย “การศึกษาการพัฒนากำลังคนและเทคโนโลยีเพื่อเข้าสู่อุตสาหกรรมฐานความรู้ ระยะที่ 2 (ศึกษาอุตสาหกรรมยาในอินเดีย)”สำนักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรม

2550

โครงการวิจัยเรื่อง “การศึกษาวิเคราะห์การจัดทำเขตการค้าเสรีไทย-ปากีสถาน โอกาสการขยายการค้า การลงทุนและผลกระทบ”, กระทรวงพาณิชย์ ผ่าน ศูนย์บริการวิชาการ จุฬาฯ

2548 - 2549

โครงการวิจัย “การศึกษาการพัฒนากำลังคนและเทคโนโลยีเพื่อเข้าสู่อุตสาหกรรมฐานความรู้ : กรณีอินเดีย และเกาหลี”, สำนักเศรษฐกิจอุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรม

2548 - 2549

โครงการวิจัยเรื่อง “การสำรวจข้อมูลพื้นฐานด้านประชากร เศรษฐกิจ สังคม สุขภาพ และการตั้งถิ่นฐานของชุมชนในลุ่มน้ำพอง จังหวัดขอนแก่น จังหวัดหนองบัวลำพู และลุ่มน้ำยัง จังหวัดกาฬสินธุ์ จังหวัดร้อยเอ็ด” งบประมาณแผ่นดิน โครงการบูรณาการร่วมของ 12 สถาบันวิจัยในจุฬาฯ ผ่านสถาบันวิจัยสภาวะแวดล้อม

2548 - 2549

โครงการความหลากหลายทางศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัย สำนักงานศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัย กระทรวงวัฒนธรรม -โครงการวิจัย “นโยบายและแนวทางพัฒนาระบบการรับมือกับภัยพิบัติด้านสังคมและการจัดการปกครอง : กรณีศึกษาจากประสบการณ์ธรณีพิบัติสึนามิ”, มูลนิธิสาธารณสุขแห่งชาติ ผ่าน คณะรัฐศาสตร์ จุฬาฯ

2548 - 2549

โครงการติดตามความก้าวหน้าเกณฑ์พื้นฐาน 10 ประการในการดำรงชีวิตของคนไทย, สภาพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ผ่านศูนย์บริการวิชาการ จุฬา

2548 - 2549

โครงการ “ความร่วมมือระหว่างประเทศไทยและประเทศเพื่อนบ้านภายใต้โครงการสนับสนุนที่ปรึกษาไทยไปทำงานในต่างประเทศ : กรณีการให้ความช่วยของไทยต่อประเทศเพื่อนบ้านในการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์”,สมาคมวิศวกรที่ปรึกษาแห่งประเทศไทย

2547-2548

โครงการ “ ภาพรวมผลกระทบภายใต้กรอบการเจรจาความตกลง FTA ไทย-อินเดีย”, กระทรวงพาณิชย์ ผ่าน คณะเศรษฐศาสตร์

2547-2548

โครงการผลกระทบทางเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อม ที่เกิดขึ้นจากการพัฒนาระเบียงตะวันออก-ตะวันตก : กรณีเส้นทางหมายเลข 9, สกว.

2546-2547

โครงการวาระแห่งชาติสำหรับไทยในการรักษาและส่งเสริมผลประโยชน์ชาติในกรณีศึกษายุทธศาสตร์ของไทยต่อการยกระดับความสัมพันธ์ทางเศรษฐกิจการค้าเอเชีย : เอเชียใต้, กองทุนรัชดาภิเษกสมโภช จุฬาฯ

2546-2547

โครงการจัดการศึกษาด้านศาสนา : ประเทศอินเดีย, สภาการศึกษา -โครงการบทบาทศาสนาต่อการพัฒนาเมืองน่าอยู่ : กรณีศึกษาอินเดีย และ ญี่ปุ่น, งบประมาณแผ่นดิน

2546-2547

โครงการประเมินการเสริมสร้างความเข้มแข็งขององค์กรชุมชนเมืองและชนบท, แหล่งทุนสถาบันพัฒนาองค์กรชุมชน

2545

The Human Dignity Initiative : Community – based Safety- Nets as Tool for Human Development, ESCAP ผ่าน มูลนิธิชุมชนไท

2544

โครงการ “การเคลื่อนย้ายของประชาชนและผลกระทบต่อความมั่นคงของประเทศไทย : กรณีศึกษากลุ่มเอเชียใต้”

2540

โครงการ “ลู่ทางการค้าและการลงทุนไทยกับประเทศอินเดีย”, แหล่งทุนงบประมาณแผ่นดิน

2540

โครงการ “สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว : ภูมิหลังทางการเมืองและสถานภาพทางเศรษฐกิจ, สมาคมมิตรภาพไทย-ลาว, กระทรวงการต่างประเทศ

2539

โครงการ “สายใยไทย-ลาว : ข่าวเกี่ยวกับลาวในสื่อมวลชนไทย, 2538 สมาคมมิตรภาพไทย-ลาว, กระทรวงการต่างประเทศ

2538

รายการ

กนกพรรณ อยู่ชา , “พลวัตทางเศรษฐกิจอินเดีย : ความเชื่อมโยงในเอเชีย” ,สัมมนาวิชาการเรื่อง “จีน-อินเดีย-ไทย: ในกระแสเศรษฐกิจการเมืองโลก”, 21 ธันวาคม 2543.

กนกพรรณ อยู่ชา, “ ขบวนการเคลื่อนไหวผู้หญิงอินเดียกับการพัฒนาชุมชนในอินเดีย”,เอเชียปริทัศน์ ปีที่ 27 ฉบับที่ 1 (มกราคม – มิถุนายน ) , สถาบันเอเชียศึกษา, 2549.

กนกพรรณ อยู่ชา “อินเดียอำนาจเศรษฐกิจใหม่เอเชียในศตวรรษที่ 21,” เอเชียปริทัศน์ ปีที่ 28 ฉบับที่ 1 (มกราคม – มิถุนายน), สถาบันเอเชียศึกษา, 2550.

กนกพรรณ อยู่ชา และสุทธิพันธ์ จิราธิวัฒน์, “การเตรียมความพร้อมรองรับผลกระทบการเจรจา FTA ไทย-อินเดีย,” เอเชียปริทัศน์ ปีที่ 28 ฉบับที่ 1 (มกราคม – มิถุนายน), สถาบันเอเชียศึกษา,

กนกพรรณ อยู่ชา, “องค์กรการเงินในระดับจุลภาคกับการพัฒนาชุมชนในอินเดีย,” เอเชียปริทัศน์ ปีที่ 30 ฉบับที่ 2 , สถาบันเอเชียศึกษา,

กนกพรรณ อยู่ชา และปกรณ์ เลิศเสถียรชัย.“จิตอาสาในอาเซียนภาคพื้นทวีป ไทย ลาว เวียดนาม พม่า และกัมพูชา :พัฒนาการและข้อเสนอเชิงนโยบาย”, การประชุมวิชาการระดับชาติ SMARTS ครั้งที่ 6 "อัตลักษณ์แห่งเอเชีย Asian Indentities 2016" คณะวิทยาการจัดการมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา", วันที่ 17 มิถุนายน 2559

กนกพรรณ อยู่ชา. “อินเดีย : การเมือง เศรษฐกิจ สังคม และการต่างประเทศ” ตีพิมพ์ใน เอเชีย ราย ปีตั้งแต่ 1995/2538 ถึง 2012/2555. สถาบันเอเชียศึกษา (จำนวน 20 บทความ)

กนกพรรณ อยู่ชา,150 ปีปราชญ์ตะวันออก รพินทรนาถ ฐากูร,เอเชียปริทัศน์ ปีที่ 33 ฉบับที่ 2 , สถาบันเอเชียศึกษา, 2555

กนกพรรณ อยู่ชา.2556. อินเดียในปี 2013 กระแสเอเชียฉบับที่ 1 /2003 หน้า 139-167.

กนกพรรณ อยู่ชา .2557 .การเลือกตั้งทั่วไปครั้งที่ 16 : นัยสำคัญต่อการเปลี่ยนแปลงขั้วทางการเมืองครั้งสำคัญของสาธารณรัฐอินเดีย, กระแสเอเชียฉบับที่ 1 / 2014 หน้า 159-192.

กนกพรรณ อยู่ชา. 2557.ปริทัศน์หนังสือ “Earth Pilgrim : จาริกบนผืนโลก” โดย สาทิศ กุมาร, เอเชียปริทัศน์ ฉบับที่ 1/2014 - กนกพรรณ อยู่ชา .2557. ปริทัศน์หนังสือ “บทวิเคราะห์เชิงรัฐศาสตร์ว่าด้วย พุทธประวัติในบริบท เศรษฐกิจ การเมือง และวัฒนธรรมของอินเดียในพุทธกาล” โดย วรศักดิ์ มหัธโนบท, เอเชียปริทัศน์ ฉบับที่ 2/2014

กนกพรรณ อยู่ชา .2558. อินเดีย : การเปลี่ยนผ่านจากนโยบาย “มองตะวันออก” สู่“ปฏิบัติการตะวันออก” กระแสเอเชียฉบับที่ 1 /2558

เขียน ธีระวิทย์ และคณะ,(2538). สายใยไทย-ลาว : ข่าวเกี่ยวกับลาวในสื่อมวลชนไทย, กรุงเทพฯ : สถาบันเอเชียศึกษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

กนกพรรณ อยู่ชา. (2539). สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว : ภูมิหลังทางการเมืองและสถานภาพทางเศรษฐกิจ, กรุงเทพฯ : สถาบันเอเชียศึกษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

กนกพรรณ อยู่ชา,บรรณาธิการ. (2546). โลกภายใต้เงามืด : ก่อนและหลังสงครามรัก”.กรุงเทพฯ : สถาบันเอเชียศึกษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, สนับสนุนโดยสำนักงานสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.).

กนกพรรณ อยู่ชา บรรณาธิการหนังสือเรื่อง “รู้จักและเข้าใจสิทธิมนุษยชนคู่มือเพื่อการศึกษาสิทธิมนุษยชน” แปลจาก”Understanding Human Rights Manual on human Rights Education” ให้กับกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์, 2549.

สุริชัย หวันแก้ว และคณะ, (2550). สังคมวิทยา สึนามิ : การรับมือกับภัยพิบัติ. กรุงเทพฯ : สถาบันวิจัยสังคม จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

กนกพรรณ อยู่ชา และคณะ.(2550).การสำรวจคนชายขอบและคนไร้สัญชาติ ในจังหวัดกาญจนบุรี, สำนักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ จังหวัดกาญจนบุรี.

กนกพรรณ อยู่ชา และคณะ.(2551).การเตรียมความพร้อมของชุมชนในการดูแลผู้สูงอายุ: กรณีศึกษาในจังหวัดกาญจนบุรี, สำนักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ จังหวัดกาญจนบุรี.

สุริชัย หวันแก้ว และกนกพรรณ อยู่ชา ,บรรณาธิการ. (2552).ศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัยบนความหลากหลายและสับสน,กรุงเทพฯ : สถาบันเอเชียศึกษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

Suwattana Thadaniti , Kanokphan U-sha .The Impact of Displaced People’s Temporary Shelters on their Surrounding Environment. ใน Springer International Publishing, Vol. 16 , 2014 เป็น e-book

จิตอาสาอาเซียน, (2562) กรุงเทพฯ : ศูนย์คุณธรรม (องค์การมหาชน)

กนกพรรณ อยู่ชา. (2560) “การเมืองการปกครองของศรีลังกา”, เอกสารการสอนชุดวิชาการเมืองการปกครองประเทศในเอเชีย, สาขารัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช

ที่ตั้งสถาบัน (ศูนย์เอเชียใต้ศึกษา)

สถาบันเอเชียศึกษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (Institute of Asian Studies Chulalongkorn University)

อาคารประชาธิปก-รำไพพรรณี ชั้น 3 ถนนพญาไท แขวงวังใหม่ เขตปทุมวัน กรุงเทพฯ 10330