นักวิจัยศูนย์วิจัยการย้ายถิ่นแห่งเอเชีย

ศูนย์วิจัยการย้ายถิ่นแห่งเอเชีย

ศูนย์วิจัยการย้ายถิ่นแห่งเอเชีย ได้รับการยอมรับทั้งในประเทศและภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ให้เป็นศูนย์แห่งความเป็นเลิศทางวิชาการด้านสังคมศาสตร์ ในการดำเนินการวิจัยที่สนับสนุนให้เกิดแนวคิดเชิงนโยบายที่เชื่อมโยงกับสถานการณ์จริง โดยประสานกับหน่วยงานภาครัฐ องค์กรระหว่างประเทศ องค์กรภาคเอกชนที่ดำเนินกิจกรรมเกี่ยวกับการย้ายถิ่น รวมทั้งจัดกิจกรรมทางวิชาการในลักษณะเครือข่ายความร่วมมือที่นำนักวิจัย นักวิชาการ ผู้เชี่ยวชาญจากสหสาขาวิชาทั้งในประเทศและต่างประเทศ ร่วมมือกับองค์กร สถาบัน ผู้กำหนดนโยบายและเจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงาน เพื่อนำข้อค้นพบจากงานวิจัยอันเป็นประโยชน์ในการชี้นำเชิงนโยบาย และวางแนวทางปฏิบัติในการสร้างความเข้าใจเงื่อนไขและรูปแบบอันหลากหลายของผู้อพยพและผู้ลี้ภัย เพื่อป้องกันหรือหลีกเลี่ยงปัญหาผลกระทบที่เกิดขึ้นกับผู้อพยพย้ายถิ่น รวมทั้งการตระหนักถึงท่าทีขององค์กรระหว่างประเทศที่ให้ความสำคัญกับปัญหาด้านสิทธิมนุษยชนและการคุ้มครองต่อผู้อพยพย้ายถิ่น

บทความของศูนย์วิจัย

หมวดหมู่:

เรียงโดย:

ข้อท้าทายในการตั้งถิ่นฐานของผู้ลี้ภัย: นโยบายของประเทศที่สาม
ข้อท้าทายในการตั้งถิ่นฐานของผู้ลี้ภัย: นโยบายของประเทศที่สาม

ข้อท้าทายในการตั้งถิ่นฐานของผู้ลี้ภัย: นโยบายของประเทศที่สาม อังคณา กมลเพ็ชร์นักวิจัยสถาบันเอเชียศึกษา ถ้ามองจากประวัติศาสตร์ สหรัฐอเมริกาเป็นประเทศที่มีบทบาทสำคัญในการให้การต้อนรับการตั้งถิ่นฐานของ ผู้ลี้ภัยจากประเทศกำลังพัฒนาหลายประเทศ  (Refugee Admission)  เหตุผลสำคัญมาจากการที่น

อังคณา กมลเพ็ชร์
2556
thaiworld

กิจกรรมที่กำลังจะมาถึง




กิจกรรมที่ผ่านมา

เรียงโดย:

ที่ตั้งสถาบัน (ศูนย์วิจัยการย้ายถิ่นแห่งเอเชีย)

สถาบันเอเชียศึกษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (Institute of Asian Studies Chulalongkorn University)

อาคารประชาธิปก-รำไพพรรณี ชั้น 7 ถนนพญาไท แขวงวังใหม่ เขตปทุมวัน กรุงเทพฯ 10330