นักวิจัยศูนย์มุสลิมศึกษา

ศูนย์มุสลิมศึกษา

ศูนย์มุสลิมศึกษา ดำเนินการวิจัยในลักษณะสหสาขาวิชา ดำเนินการศึกษาวิจัยและเผยแพร่องค์ความรู้ทางด้านมุสลิมศึกษา โดยให้ความสำคัญทั้งในเชิงพื้นที่และประเด็นปัญหาทั้งในภูมิภาคตะวันออกกลาง เอเชียใต้ เอเชียตะวันออก ตลอดจนโลกมลายู โดยเฉพาะอย่างยิ่งปัญหาที่มีผลกระทบต่อประเทศไทย โดยมีวัตถุประสงค์ เพื่อดำเนินงานวิจัยและงานวิชาการด้านมุสลิมศึกษาในมิติต่าง ๆ อย่างครอบคลุม ลุ่มลึก และเป็นระบบเพื่อเป็นแหล่งค้นคว้าอ้างอิง เพื่อเสริมสร้างความเข้าใจเกี่ยวกับโลกมุสลิมและเพื่อพัฒนาให้เกิดเครือข่ายความร่วมมือทางวิชาการในด้านต่าง ๆ ทั้งระดับประเทศ และระดับระหว่างประเทศ

บทความของศูนย์วิจัย

หมวดหมู่:

เรียงโดย:

ไทย-ซาอุดิอาระเบีย: จากสัมพันธ์แตกร้าวสู่ก้าวย่างแห่ง “มิตรภาพใหม่”
ไทย-ซาอุดิอาระเบีย: จากสัมพันธ์แตกร้าวสู่ก้าวย่างแห่ง “มิตรภาพใหม่”

โดย ดร.ศราวุฒิ อารีย์ ประเด็นความสัมพันธ์ระหว่างไทย-ซาอุดีอาระเบียกลับมาเป็นกระแสอีกครั้งหลังจากที่รัฐมนตรีต่างประเทศของไทย นายดอน ปรมัตถ์วินัย ให้สัมภาษณ์ระหว่างเดินทางไปร่วมประชุมรัฐมนตรีต่างประเทศอาเซียน ณ ประเทศเวียดนาม ระหว่างวันที่ 11-13 มกราคม 2020 ว่าตนเองได้เดินทางเยือนประเทศบาห์เร

ดร.ศราวุฒิ อารีย์
2563
กระแสเอเชีย
ยุทธศาสตร์การต่างประเทศของไทยต่อตะวันออกกลางและโลกมุสลิม
ยุทธศาสตร์การต่างประเทศของไทยต่อตะวันออกกลางและโลกมุสลิม
"

โดย ดร. อารีฝีน ยามา นักวิจัยประจำศูนย์มุสลิมศึกษา สถาบันเอเชียศึกษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ยุทธศาสตร์การต่างประเทศของไทยต่อตะวันออกกลางและโลกมุสลิม เมื่อพูดถึงคำว่า “โลกมุสลิม” หลายคนมักจะเข้าใจว่ามีเพียงแค่ภูมิภาคตะวันออกกลาง แต่จริง ๆ แล้วโลกมุสลิมนั้นกินพื้นที่กว้างใหญ่ไพศาลมาก เพราะนอกจาก

ดร. อารีฝีน ยามา
2562
thaiworld

กิจกรรมที่กำลังจะมาถึง




กิจกรรมที่ผ่านมา

เรียงโดย:

ที่ตั้งสถาบัน (ศูนย์มุสลิมศึกษา)

สถาบันเอเชียศึกษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (Institute of Asian Studies Chulalongkorn University)

อาคารประชาธิปก-รำไพพรรณี ชั้น 7 ถนนพญาไท แขวงวังใหม่ เขตปทุมวัน กรุงเทพฯ 10330

02-218-7412

02-218-7412